วันอาทิตย์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2553

การพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการก้าวกระโดดได้อย่างต่อเนื่อง

โดย อาจารย์ศิรัญญา จุฬะเพ็ชร์
สรุปผลการวิเคราะห์การวิจัย
1. ผลการทดสอบก่อนสอนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ EP 1 ทั้งหมด 5 คน อยู่ในการพัฒนาการระดับ 2 (ก้าวกระโดดได้ต่อเนื่องและเสียการทรงตัวเป็นบางครั้ง) และ 9 คน อยู่ในระดับ 1 (ก้าวกระโดดได้ไม่ค่อยต่อเนื่องและเสียการทรงตัว) จากนักเรียนทั้งหมด 14 คน นักเรียนชั้น EP 1 5 คน และ 3 คน อยู่ระดับ 2
2. หลังจากการทำฝึกหัดและทำทดสอบหลังการสอน พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 10 คน อยู่ที่ระดับ 3 และ 4 คน อยู่ที่ระดับ 2 นักเรียน EP 1 6 คน อยู่ที่ระดับ 3 และ 2 อยู่ที่ระดับ 3
3. จากผลการเปรียบเทียบทดสอบหลังก่อนพบว่าเด็กนักเรียน 100 % มีการพัฒนาการอยู่ที่ไม่มีนักเรียนคนใดอยู่ในระดับ 1
4. เพราะมีการฝึกฝนก่อนปฏิบัติจริงเพื่อเตรียมความพร้อมจึงทำให้นักเรียนสามารถพัฒนาได้อย่างมีนัยสำคัญ (จากจำนวนนักเรียน 0 ในระดับ 3 ของการทดสอบครั้งที่ 1 เป็น 5 คนในระดับ 3 ของการทดสอบครั้งที่ 2
5. 3 คน จากนักเรียนนั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ของการทดสอบครั้งที่ 3 และ 2 คน จากนักเรียนชั้น EP 1 อยู่ในระดับ 2 ของการทดสอบครั้งที่ 3 เพราะว่า
-การฝึกฝนยังน้อยไปเมื่อเด็กนักเรียนยังมีการพัฒนาการด้านร่างกายที่ไม่พร้อม
-ความพร้อมในด้านกล้ามเนื้อของนักเรียนต้องให้มีความแข็งแรงมากกว่านี้

สรุปผลการวิจัย
1. เมื่อนักเรียนได้มีโอกาสฝึกขั้นตอนทีละขั้น จึงทำให้เกิดการพัฒนาการที่ดีได้
2. เมื่อนักเรียนได้ให้เวลาในการฝึกเพียงพอ จะทำให้การพัฒนาในการเคลื่อนไหวดีขึ้น
3. การพัฒนาการในการเคลื่อนไหวสามารถเกิดขึ้นได้เมื่อการอภิปรายและสรุปงานเช่นกัน
4. เมื่อความพร้อมทางร่างกายไม่เท่าเพื่อนจึงทำให้การพัฒนาไปได้ไม่ทันกันถ้าใช้วิธีเดียวกัน

ไม่มีความคิดเห็น: